ผู้บริหาร
ทีมผู้บริหารของคณะ

คณบดี
+
รศ.ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์
คณบดี
- ปร.ด.การวิจัยทางสถิติทางวิทยาการทางปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
- วท.ม.เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- โทรศัพท์ : 033 136099 ต่อ1331

รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ
+
อ.ดร.สุธีรา อานามวงษ์
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ
- ปร.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- วท.ม.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
+
อ.ดร.กรณัฏฐ์ นาคภิบาล
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
+
ผศ.สินทรัพย์ นับเพชรพลอย
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
วท.ม.(คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา
ผู้ช่วยคณบดี
------

ผู้ช่วยคณบดีด้านประชาสัมพันธ์
+
อ.ดร.ปิยธิดา ต.ไชยสุวรรณ
ผู้ช่วยคณบดีด้านประชาสัมพันธ์
- ปร.ด. (การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
- วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- วท.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา

ผู้ช่วยคณบดีด้านกิจกรรมนักศึกษา
+
อ.ยศภัทร เรืองไพศาล
ผู้ช่วยคณบดีด้านกิจกรรมนักศึกษา
วท.ม.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง

ผู้ช่วยคณบดีด้านวิชาการ
+
อ.ดร.วีรยา ภูผิวคำ
ผู้ช่วยคณบดีด้านวิชาการ
ปร.ด.(ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยคณบดีด้านวิจัย
+
ผศ.เพียงขวัญ เครือภู่
ผู้ช่วยคณบดีด้านวิจัย
- วท.ม.(ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยมหิดล
- วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หัวหน้าหน่วยงาน
หัวหน้าสำนักงานคณบดี หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าศูนย์

หัวหน้าสำนักงานคณบดี
+
ชญานันทน์ แซ่เฮง
หัวหน้าสำนักงานคณบดี
เบอร์ภายใน 1332

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
+
ผศ.สุพัตรา พูลพืชชนม์
หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
วท.ม.(วิทยาศาตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
+
ผศ.ดร.วรีภรณ์ รัตนิสสัย
หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาฟิสิกส์
- วศ.ด.(วิศวกรรมนิวเคลียร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- วท.ม.(นิวเคลียร์เทคโนโลยี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
+
ผศ.ณัฐธยาน์ รุจิราธนาพัฒน์
หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

หัวหน้าสาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
+
ผศ.ปภากร ศรีสอน
หัวหน้าสาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
- วท.ม.(พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ป.บัณฑิต(ประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลโลยีการอาหาร) สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
+
ผศ.พงศ์พัฒน์ สิงห์ศรี
หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยบูรพา 2556
- วท.บ.(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554

หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
+
อ.มนตรี เรืองสิงห์
หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
- วท.ม.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวหน้าสาขาวิชานวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
+
อ.มาโนช รัตนคุณ
หัวหน้าสาขาวิชานวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
- วท.ม.(ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยบูรพา
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 6 หลักสูตร ดังนี้

หลักสูตรผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม (วท.บ.)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และมุ่งเสริมสร้างประสบการณ์เรียนรู้ และทักษะในการวิจัยและพัฒนา การผลิต และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม

หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ (วท.บ.)
เน้นผลิตกำลังคนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่พร้อมเข้าสู่สถานประกอบการ สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศ และเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ

หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (วท.บ.)
หลักสูตรที่ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ในยุคดิจิทัล เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมให้ตอบโจทย์ต่อความต้องการใช้งานได้อย่างถูกต้อง และเป็นมืออาชีพ

หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ (วท.บ.)
สร้างนวัตกรรมและสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตเกษตร และการจัดการของเสียให้นำกลับมาใช้ประโยชน์เพื่อลดต้นทุนการผลิต และเพื่อพัฒนาไปสู่เศรษฐกิจที่ยั่งยืนบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย

หลักสูตรอุตสาหกรรมอาหารและการบริการ (วท.บ.)
บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาหารและโภชนาการความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งศิลปะการตกแต่งอาหารเพื่อให้เกิดความน่าสนใจและน่ารับประทาน การจัดการด้านธุรกิจ อาหารและการบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศทางด้านกำลังคน มีการพัฒนาและต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสังคมที่ยังยืน

หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ.)
ประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ โภชนศาสตร์เข้าด้วยกัน บูรณาการเป็นองค์ความรู้ ด้านการแปรรูปอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การควบคุมและการประกันคุณภาพ ความปลอดภัยทางอาหาร การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพ